วันพฤหัสบดีที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2557

    3. การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการเขียนบรรยาย พร้อม 1 ตัวอย่าง       

เป็นการถ่ายทอดความคิดโดยการเขียนคำบรรยายเป็นภาษาที่ใช้ในการสื่อสารกันทั่วไป
จงเขียนแผนผังสำหรับคำนวณหาพื้นที่วงกลม ทั้งนี้ให้รับค่ารัศมี และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ทางเครื่องพิมพ์
รายละเอียดของปัญหา : คำนวณหาพื้นที่วงกลม
การวิเคราะห์                : ขั้นตอนคำนวณหาพื้นที่วงกลม จากสูตร พื้นที่วงกลม = π
การออกแบบขั้นตอนวิธี : 1.ข้อมูลออก หรือผลลัพธ์ คือ พื้นที่วงกลม แทนด้วย Area
                                                        2.ข้อมูลเข้า คือ รัศมี แทนด้วย r

                                          3.วิธีการประมวลผลดังนี้

4.การถ่ายถอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการใช้สัญลักษณ์ พร้อม 1 ตัวอย่าง
เป็นการถ่ายทอดความคิดในรูปแบบแผนภาพ ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ เรียกว่า การเขียนแผนผัง(flowchart) ใช้สำหรับการสื่อสารขั้นตอนวิธีในการแก้ปัญหาให้เข้าใจตรงกัน เช่น



5.การถ่ายถอดความคิดในการแก้ปัญหาโดยการใช้รหัสจำลอง พร้อม 1 ตัวอย่าง
เป็นรหัสคำสั่งที่ใช้เขียนเลียนแบบคำสั่งโปรแกรมอย่างย่อ รหัสจำลองจะใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ เช่น








วันเสาร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2557

2.การออกแบบขั้นตอนวิธี จากมุมเทคโนโลยี
ความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
1)รับข้อมูลเข้าจากสื่อต่างๆ
2)คำนวณทางคณิตศาสตร์
3)เปรียบเทียบค่าสองค่า
4)เคลื่อนย้ายข้อมูลในหน่วยความจำ
ความสามารถตามลำดับก่อน-หลัง 
1)การกำหนดค่าเริ่มต้น(initialization) คือ การกำหนดค่าตัวแปรบางชนิด
2)การรับข้อมูล(input) คือ การปรับตัวเข้ามาซึ่งตัวแปรได้จากการวิเคราะห์โจทย์ 
3)การคำนวณ(computation) คือ การคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนการคำนวณตามลำดับก่อน-หลัง
ตัวกระทำงานคณิตศาสตร์


สัญลักษณ์
การบวก


+
การลบ


-
การคูณ


*
การหาร


/
การยกกำลัง


^







4)การแสดงข้อมูล (output) คือ การแสดงค่า ทำหลังจากการรับข้อมูลและการคำนวณ ตัวแปรที่แสดงค่า คือ ตัวแปรที่โจทย์ต้องการผลลัพธ์
5)การเปรียบเทียบหรือการเลือก (selection) เป็นการเลือกทิศทางการทำงาน โดยมีเงื่อนไขที่ชัดเจน
ความหมาย
สัญลักษณ์
เท่ากับ
=
น้อยกว่า
< 
มากกว่า
> 
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
<=
มากกว่าหรือเท่ากัน
>=
ไม่เท่ากับ
<> 











6)การเปรียบเทียบเชิงตรรกะ
P
              NOP (P)
F
T
T
F

P
Q
P AND  Q
P OR Q
T
T
T
T
T
F
F
T
F
T
F
T
F
F
F
F


วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2557



1.กระบวนการที่ทำให้ประสบผลสำเร็จในการแก้ปัญหาควรมีขั้นตอน


1) การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ในการที่จะแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งได้นั้น สิ่งแรกที่ต้องทำคือทำความเข้าใจเกี่ยวกับถ้อยคำต่างๆ ในปัญหา แล้วแยกปัญหาให้ออกว่าอะไรเป็นสิ่งที่ต้องหา แล้วมีอะไรเป็นข้อมูลที่กำหนด และมีเงื่อนไขใดบ้าง หลังจากนั้นจึงพิจารณาว่าข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดให้นั้นเพียงพอที่จะหาคำตอบของปัญหาได้หรือไม่ ถ้าไม่เพียงพอ ให้หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้ ดังนี้
1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมากับปัญหา
1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคำตอบหรือผลลัพธ์
1.3 การกำหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาวิธีหาคำตอบ หรือผลลัพธ์

2) การวางแผนในการแก้ปัญหา จากการทำความเข้าใจกับปัญหาจะช่วยให้เกิดการคาดคะเนว่าจะใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหาเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ ประสบการณ์เดิมของผู้แก้ปัญหาจะมีส่วนช่วยอย่างมาก ฉะนั้นในการเริ่มต้นจึงควรจะเริ่มด้วยการถามตนเองว่า “เคยแก้ปัญหาในทำนองเดียวกันนี้มาก่อนหรือไม่” ในกรณีที่มีประสบการณ์มาก่อนควรจะใช้ประสบการณ์เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา สิ่งที่จะช่วยให้เราเลือกใช้ประสบการณ์เดิมได้ดีขึ้นคือ การมองดูสิ่งที่ต้องการหา และพยายามเลือกปัญหาเดิมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เมื่อเลือกได้แล้วก็เท่ากับมีแนวทางว่าจะใช้ความรู้ใดในการหาคำตอบหรือแก้ปัญหา โดยพิจารณาว่าวิธีการแก้ปัญหาเดิมนั้นมีความเหมาะสมกับปัญหาหรือไม่ หรือต้องมีการปรับปรุงเพื่อให้ได้วิธีการแก้ปัญหาที่ดีขึ้น ในกรณีที่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาทำนองเดียวกันมาก่อน ควรเริ่มจากการมองดูสิ่งที่ต้องการหา แล้วพยายามหาวิธีการเพื่อให้ได้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ต้องการหากับข้อมูลที่มีอยู่ เมื่อได้ความสัมพันธ์แล้วต้องพิจารณาว่าความสัมพันธ์นั้นสามารถหาคำตอบได้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ก็แสดงว่าต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมหรืออาจจะต้องหาความสัมพันธ์ในรูปแบบอื่นต่อไป เมื่อได้แนวทางในการแก้ปัญหาแล้วจึงวางแผนในการแก้ปัญหาเป็นขั้นตอน

3) การดำเนินการแก้ปัญหาตามแนวทางที่วางไว้ เมื่อได้วางแผนแล้วก็ดำเนินการแก้ปัญหา ระหว่างการดำเนินการแก้ปัญหาอาจทำให้เห็นแนวทางที่ดีกว่าวิธีที่คิดไว้ ก็สามารถนำมาปรับเปลี่ยนได้

4) การตรวจสอบ เมื่อได้วิธีการแก้ปัญหาแล้วจำเป็นต้องตรวจสอบว่า วิธีการแก้ปัญหาได้ผลลัพธ์ถูกต้องหรือไม่
เพิ่มคำอธิบายภาพ

สวัสดีค่ะ 
ชื่อ Saowaruk  Jadoeng  
ชื่อเล่น Nan
เกิด  25  กรกฏาคม  2540
อายุ  17  ปี 
เพศ หญิง
โรงเรียน  Bangbo  witthayakhom 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/5 

ภาพถ่ายของฉัน    คิ  คิ ....